TEPE-58102 การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ (16/20) – ครูระยอง


TEPE-58102 การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ (16/20)

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58102 การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ (16/20)

  • ข้อใดคือขั้นตอนแรกของวิธีสอบโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
    – การขั้นกำหนดปัญหา
  • อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ตั้นอยู่ในจังหวัดใด
    – บุรีรัมย์
  • ข้อใดคือคุณค่าของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการศึกษานอกสถานที่
    – ทุกข้อที่กล่าวมา
  • มโนมติทางประวัติศาศตร์ข้อใดที่เกี่ยวข้องกับวิชารัฐศาสตร์มากที่สุด
    – เหตุปัจจัย
  • กินกรรมข้อใดเป็นกิจกรรมพื้นฐานที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลำดับเหตุการณ์ที่เกินขึ้นในประวัติสตร์มากที่สุด
    – กิจกรรมการเทียบศักราช และการนับช่วงเวลา
  • ข้อใดเป็นคุณค่าหรือประโยชน์ของวิชาประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง
    – ช่วยให้เข้าใจวิวัฒนาการของมนุษย์และสังคมว่ามีการพัฒนาตามลำดับอย่างไร
  • ประวัติศาสตร์(history) มาจากคำในภาษากรีกว่า “Historia” ซึ่งความหมายว่าอะไร
    – การไต่สวนหรือค้นคว้า
  • หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้นและหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2503 ได้กำหนดหมวดสังคมศึกษาแยกเป็นกี่วิชา วิชาใดบ้าง
    – 4 รายวิชา คือ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์
  • แนวคิดที่ผู้สอนควรเน้นในกิจกรรม “การเขียนบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน” คือข้อใดมากที่สุด
    – การบันทึกเป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้เรื่องราวทางประวัติสตร์
  • เครื่องมือการวัดและประเมินผล ด้านเจตคติและค่านิยม หรือด้านความรู้สึกและอารมณ์นั้น ครูควรใช้เครื่องมือใด
    – แบบสังเกตและวิธีการที่ให้นักเรียนรายงานด้วยตอนเอง
  • กิจกรรมพบปะสนทนากับผู้อาวุโสในชุมชน เป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมวิธีการเรียนประวัติศาสตร์แบบใด
    – ข้อ 1 และข้อ 2
  • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศึกราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมนั้น สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ไวกี่มาตรฐาน
    – 3 มาตรฐาน
  • หลักสูตรประโยคต่างๆ ที่ออกใช้ในปี พ.ศ. 2438 ได้มีการสอนวิชาประวัติศาสตร์ไว้ในบางส่วนของวิชาใด
    – วิชาภาษาไทย
  • ถ้าค้องการให้ผู้เรียนได้ชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ครูผู้สอนครใช้สือแบบใดต่อไปนี้ จึงจะเหมาะสมที่สุด
    – สไลด์
  • กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศึกราช 2551 นั้น สาระประวัติศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงในข้อใดบ้าง
    – เพิ่มตัวชี้วัดทุกช่วงชั้น
  • ข้อใดคือประโยชน์ของเส้นเวลา (Time Line)
    – ทุกข้อที่กล่าวมา
  • แผนภูมิแบบใดที่ออกแบบเพื่อแสดงให้เห็นข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างสิ่งของจำพวกเดียวกันแต่เป็นคนละแบบ ครละลักษณะ
    – แผนภูมิเปรียบเทียบ
  • พฤติกรรมที่ต้องวัดและประเมินมรการเรียนการสอนวิขาประวัติศาสตร์ได้แก่ พฤติกรรมด้านใด
    – ถุกทุกข้อ
  • สือสิ่งพิมพ์ใดที่ครูผู้าอนนิยมนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์มากที่สุด
    – แบบเรียนตำรา
  • “พัฒนาการของสังคมมนุษย์ คุณลักษณะของโครงสร้างทางสังคม ความเจริญทางเทคโนโลยี และการบริหาร ระดับความเจริญทางสติปัญญาและสุนทรียศาสตร์” คำอธิบายนี้ตรงกับมโนมติข้ดใด
    – อารยธรรม

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

krurayong

ผู้เขียน: krurayong

สุธาราทิพย์ แสงสุวรรณ เป็นที่ปรึกษาและติดยาเสพติดอายุ 31 ปีที่โรงพยาบาลศรีวิชัย เธอสำเร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี 2553 เธอทำงานกับทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่เพื่อจัดการกับปัญหาการเสพติดและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและแอลกอฮอล์ ในเวลาว่างของเธอเธอมีส่วนร่วมในชมรมละครของชุมชนท้องถิ่น